Tag: ความมั่งคั่ง

แนะนำหนังสือ บันได 9 ขั้นสู่ความมั่งคั่งทางการเงิน สำหรับมือใหม่เริ่มต้นลงทุน

วันที่ Za.in.th ขอเอาใจนักลงทุนมือใหม่ที่ต้องการเริ่มต้นการลงทุนด้วยความรู้ โดยมาแนะนำหนังสือที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับมือใหม่เริ่มต้นลงทุน  นั่นก็คือหนังสือ บันได 9 ขั้นสู่ความมั่งคั่งทางการเงิน  หนังสือที่จะทำให้คุณ ก้าวอย่างมั่นคง สู่ฐานะการเงินที่มั่งคั่ง เล่มนี้เขียนโดย Suze

ความมั่งคั่ง เราสร้างได้ง่ายๆ

การวางแผนการเงินส่วนบุคคลในอีกความหมายหนึ่งมักจะถูกเรียกว่า การบริหารความมั่งคั่ง (wealth management) แต่คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่า เวลาพูดถึงความมั่งคั่ง จะถูกมองเป็นเรื่องของคนรวยเท่านั้น ที่จริงแล้วเป็นเรื่องเดียวกัน ไม่ว่าคนจนคนรวยก็ควรได้รับความรู้เรื่องนี้ เพียงแต่คนจนต้องผ่านขั้นตอนบางอย่างโดยเฉพาะในเรื่องการสร้างความมั่งคั่ง ส่วนคนที่มีฐานะอยู่แล้วก็ต้องเรียนรู้หลักของการปกป้องความมั่งคั่ง ต่อยอดความมั่งคั่ง

ความมั่งคั่ง (Wealth) กับอัตราส่วนความอยู่รอด (Survival Ratio)

หากจะกล่าวถึง ความมั่งคั่ง จะนึกถึงอะไรบ้าง เป็นคำถามที่ควรย้อนถามกับตัวเอง ซึ่งเชื่อหรือไม่คนส่วนใหญ่เกือบร้อยทั้งร้อยจะนึกถึงภาพคนที่มีรายได้มากๆสูงๆ มีทรัพย์สินเงินทองมากมาย หรือ คนที่มีเงินใช้ชีวิตอย่างสุขสบาย เพราะสิ่งเหล่านี้เปรียบเสมือนเครื่องหมายแสดงฐานะทางสังคมสื่อให้เห็นถึงความมั่งคั่งร่ำรวยของบุคคลนั่นเอง ทำให้ในสังคมปัจจุบันนั้นจะเห็นคน วุ่นวายอยู่กับการทำงานหาเงินไว้จับจ่ายใช้สอย ซื้อข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ

ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของ “ตลาดการเงิน”

ตลาดสินค้าและบริการจะเป็นตลาดระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดยจะทําการแลกเปลี่ยนกันระหว่างสินค้าและบริการกับเงิน ซึ่งแตกต่างกับตลาดการเงิน เนื่องจากตลาดการเงินจะเป็นตลาดระหว่างผู้ที่มีเงินทุนเหลือ (ผู้มีเงินออม) กับผู้ต้องการเงินทุนโดยมีตัวกลางคือเงินทุน นั่นเอง ความสําคัญระหว่างตลาดการเงินและระบบเศรษฐกิจ ตลาดการเงิน หรือ ระบบการเงินมีความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจในฐานะเป็นช่องทางการส่งผ่านเงินทุนจากผู้ที่มีเงินทุนเหลือไปยังผู้ต้องการเงินทุนที่จะนําเงินทุนเหล่านั ้นไปประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ

5 วิธี เพื่อเส้นทางสู่ความมั่นคงทางการเงิน

การจะมีอนาคตทางการเงินที่มั่นคง จำเป็นต้องอาศัยการวางแผนการเงินที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน ใครที่เคยคิดว่า การวางแผนการเงินนั้นยาก เห็นทีต้องคิดใหม่เพราะจริง ๆ แล้วไม่ยากเลย เพียงคุณทำตามขั้นตอนง่ายๆ 5 ขั้นตอนนี้เท่านั้น 1. ประเมินฐานะการเงิน นำสินทรัพย์ทั้งหมดมาเป็นตัวตั้งแล้วหักลบด้วยหนี้สินทั้งหมดส่วนที่เหลือจึงเป็นส่วนของคุณ